************************************************************************************************
1. รหัสวิชา (Course Number) : SCT0401
2. จำนวนหน่วยกิต (Course Credit) : 3(2-2-5)
3. ชื่อวิชา (Course Title) : ระบบปฏิบัติการ
4. คณะ/ภาควิชา (Faculty / Department) : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี / ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
5. ภาคการศึกษา (ต้น/ปลาย/ฤดูร้อน) Semester (First / Second / Summer) : ภาคปลาย
6. ปีการศึกษา (Academic Year) : 2557
7. ชื่อผู้สอน (รายวิชาที่มีผู้สอนหลายคน ระบุชื่ออาจารย์ผู้ร่วมสอนทุกคน) (Instructor / Academic Staff)
อาจารย์ |
ห้องพัก |
โทรศัพท์ |
Office Hours |
---|---|---|---|
อาจารย์จันทรา บุญวิชัย |
ห้องพักอาจารย์ ชั้น 4 ห้องที่ 2 |
081-5356-773 |
077-355466-7 ต่อ 765 |
8. เงื่อนไขรายวิชา (Condition)
8.1 วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Prerequisite) : -
8.2 วิชาบังคับร่วม (Co requisite) : -
9. สถานภาพของวิชา (วิชาบังคับ/วิชาเลือก) Status (Required / Elective) : วิชาบังคับ
10. ชื่อหลักสูตร (Curriculum) : วิทยาศาสตรบัณฑิต
11. วิชาระดับ (Degree) : ปริญญาตรี
12. จำนวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์ (Hours / Week) : 3(2-2)
13. เนื้อหารายวิชา (Course Description)
หลักการพื้นฐานของระบบปฏิบัติการ การจัดการสื่อจัดเก็บข้อมูลการจัดการอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต การจัดการหน่วยความจำ การจัดเวลาCPU วงจรอับ การจัดการมัลติมีเดีย มัลติโปรเซสเซอร์ ระบบแบบกระจาย การป้องกัน ระบบการจัดการไฟล์ การรักษาความปลอดภัยของระบบปฏิบัติการ
14. ประมวลการเรียนรายวิชา (Course Outline)
14.1 วัตถุประสงค์ทั่วไปและ/หรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Learning Objectives / Behavioral Objectives)
1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถอธิบายความหมาย วิวัฒนาการ บทบาท หน้าที่ของระบบปฏิบัติการได้
2. เข้าใจและสามารถอธิบายการจ่ายงานและการจัดสรรหน่วยประมวลผล การบริหาร และการจัดการหน่วยความจำ การจัดคิวงานและการจัดสรรทรัพยากร การจัดการข้อมูลและการแสดงผลระบบแฟ้ม การควบคุม การคืนสู่สภาพเดิม
3. สามารถนำความรู้ที่ได้นำไปอธิบายและประยุกต์ช้กับการทำงานของระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ปัจจุบันได้
14.2 เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์ (Learning Contents)
ตารางกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน
ครั้งที่ |
เนื้อหา |
กิจกรรมการเรียน |
วิธีการสอน |
1 |
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
2 |
การจัดการโปรเซส |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
3 |
การจัดเวลาซีพียู |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
4 |
การจัดเวลาซีพียู (ต่อ) |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
5 |
การจัดการหน่วยความจำ |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
6 |
การจัดการหน่วยความจำ |
Present งาน |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
7 |
หน่วยความจำเสมือน |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
8 |
สอบกลางภาค |
สอบข้อเขียน |
- |
9 |
การจัดการไฟล์ |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
10 |
การจัดการอุปกรณ์ |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
11 |
การจัดการอุปกรณ์ |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
12 |
โครงสร้างระบบปฏิบัติการและตัวอย่างระบบปฏิบัติการ |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
13 |
ตัวอย่างระบบปฏิบัติการ |
ทำแบบฝึกหัด |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
14 |
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ |
Present งาน |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
15 |
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ |
Present งาน |
บรรยาย/ปฏิบัติ |
16 |
สอบปลายภาค |
สอบข้อเขียน |
- |
14.3 วิธีจัดการเรียนการสอน (Method)
þ การบรรยาย (Lecture) (ชั่วโมง/ครั้ง/คาบ/ร้อยละ) : 2 คาบ / 1 ครั้ง ร้อยละ 50
r การบรรยายเชิงอภิปราย (Lecture and discussion) (ชั่วโมง/ครั้ง/คาบ/ร้อยละ) : -
þ การระดมสมอง และการอภิปรายกรณีศึกษาเพื่อให้รู้จักการวิเคราะห์ และการแก้ปัญหา
(Brainstorming and discussion of case study so that students learn to analyze and solve problems) (ชั่วโมง/ครั้ง/คาบ/ร้อยละ) : 1 คาบ / 1 ครั้ง ร้อยละ 25
þ การสรุปประเด็นสำคัญ หรือการนำเสนอผลของการสืบค้นหรือผลของงานที่ได้รับมอบหมาย (Making a
summary of the main points or presentation of the results of researching or the assigned tasks)
(ชั่วโมง/ครั้ง/คาบ/ร้อยละ) : 1 คาบ / 1 ครั้ง ร้อยละ 25
r อื่นๆ (Others) (ชั่วโมง/ครั้ง/คาบ/ร้อยละ) : -
14.4 สื่อการสอน (Media)
þ แผ่นใสและแผ่นทึบ (Transparencies and opaque sheets)
þ สื่อนำเสนอในรูปแบบ (PowerPoint media)
þ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ / เว็บไซต์ (Electronics and website media)
þ อื่นๆ (Others) : คอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์ครบชุด โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ที่กำหนดให้
14.5 การมอบหมายงาน ผ่านระบบเครือข่าย (Assignment through Network System)
14.5.1 ข้อกำหนดวิธีการมอบหมายงาน และส่งงาน (Assigning and Submitting Method) : ส่งงานตาม E-Mail
ที่ระบุ
14.5.2 ระบบจัดการการเรียนรู้ที่ใช้ (Learning Management System) : ประกาศข่าวสารทางเว็บไซต์ของ
โปรแกรมวิชาฯ ที่ระบุ
14.6 การวัดผลการเรียน (Evaluation)
14.6.1 การประเมินความรู้ทางวิชาการ ร้อยละ 60 (สอบกลางภาค : สอบปลายภาค)
(Assessment of academic knowledge)
14.6.2 การประเมินการทำงานหรือกิจกรรมในชั้นเรียน ร้อยละ 10 (เวลาเรียนในห้องเรียน)
(Assessment of work or classroom activities)
14.6.3 การประเมินผลงานที่ได้มอบหมาย ร้อยละ 20 (แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมาย)
(Assessment of the assigned tasks)
14.6.4 อื่นๆ (Others) ร้อยละ 10 (present)
15 รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ (Reading List)
15.1 หนังสือบังคับ (Required Text)
ระบบปฏิบัติการ1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี .2549
15.2 หนังสืออ่านเพิ่มเติม (Supplementary Texts)
มงคล อัศวโกวิทกรณ์ ระบบปฏิบัติการ
น.ท.ไพศาล โมลิสกุลมงคลและคณะ ระบบปฏิบัติการ ไทยเจริญการพิมพ์ กรุงเทพฯ 2545
15.3 บทความวิจัย/บทความวิชาการ (ถ้ามี) Research Articles / Academic Articles (If any) : -
15.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง (Electronic Media or Websites) : เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาระบบปฏิบัติการ
16. การประเมินผลการสอน (Teacher Evaluation) โปรดระบุการดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
16.1 การประเมินการสอน ใช้รูปแบบใดของมหาวิทยาลัย หรือรูปแบบอื่น : ใช้แบบอิงค์เกณฑ์ ดังนี้
คะแนน |
0-49 |
50-54 |
55-59 |
60-64 |
65-69 |
70-74 |
75-79 |
80-100 |
เกรด |
E |
D |
D+ |
C |
C+ |
B |
B+ |
A |
16.2 การปรับปรุงจากผลการประเมินการสอนครั้งที่ผ่านมา (ระบุว่าได้ดำเนินการในเรื่องใดบ้าง เช่น ปรับปรุงเนื้อหา สื่อการสอน วิธีการสอน เป็นต้น) (Changes made in accordance with the previous evaluation e.g. adjustments in content, teaching media, teaching method)
- ปรับปรุงเนื้อหา ให้มีตัวอย่างโจทย์และตัวอย่างแบบฝึกปฏิบัติมากขึ้น
- ปรับปรุงสื่อการสอน เพิ่มสื่ออิเล็กทรอนิกส์และเว็บไซต์
- ปรับปรุงวิธีการสอน ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการคิดเพิ่มมากขึ้น
16.3 การอภิปรายหรือการวิเคราะห์ที่เสริมสร้างคุณลักษณะของบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (จตุลักษณ์)
- นักศึกษามีความรู้และประสบการณ์ตามมาตรฐานของหลักสูตรทางคอมพิวเตอร์
- นักศึกษามีระบบคิดที่ดี รู้จักคิด กล้าคิด คิดสร้างสรรค์
- นักศึกษามีจิตวิญญาณในการทำงาน มุ่งมั่น หนักเอา เบาสู้ ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรค
- นักศึกษามีจริยธรรมในวิชาชีพทางคอมพิวเตอร์
***หมายเหตุ ***
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
เน้นตัวผู้เรียน |
1. การจัดการเรียนการสอนตามเอกัตภาพ (Individual Instruction) |
2. การจัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนนำตนเอง (Self Directed Learning) |
|
เน้นความรู้ความสามารถ |
3. การจัดการเรียนรู้แบบรู้จริง (Mastery Learning) |
4. การจัดการเรียนการสอนแบบประกันผล (Verification Teaching) |
|
5. การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นมโนทัศน์ (Concept-based Instruction) |
|
เน้นประสบการณ์ |
6. การจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential-Teaching) |
7. การจัดการเรียนรู้แบบรับใช้สังคม (Service Learning) |
|
8. การจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Learning) |
|
เน้นปัญหา |
9. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-based Instruction) |
10. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงการ (Project-based Instruction) |
|
เน้นทักษะกระบวนการ |
11. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการสืบสอบ (Inquiry-based Instruction) |
12. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการคิด (Thinking-based Instruction) |
|
13. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการกลุ่ม (Group Process-based Instruction) |
|
14. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการวิจัย (Research-based Instruction) |
|
15. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Instruction Emphasizing Learning Process) |
|
เน้นบูรณาการ |
16. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการบูรณาการภายในวิชา (Interdisciplinary) |
17. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการบูรณาการระหว่างวิชา (Interdisciplinary) |
คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์คือ จตุลักษณ์ มีดังนี้
1. มีความรู้และประสบการณ์ตามมาตรฐานของหลักสูตร
2. มีระบบคิดที่ดี รู้จักคิด กล้าคิด คิดสร้างสรรค์
3. มีจิตวิญญาณในการทำงาน มุ่งมั่น หนักเอา เบาสู้ ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรค
4. มีจริยธรรมในวิชาชีพ