ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

************************************************************************************************

1.       รหัสวิชา (Course Number)  : 4000108

2.       จำนวนหน่วยกิต (Course Credit)  : 3(2-2)

3.       ชื่อวิชา (Course Title)  :  เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเรียนรู้

4.       คณะ/ภาควิชา (Faculty / Department)  : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี / ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์

5.       ภาคการศึกษา (ต้น/ปลาย/ฤดูร้อน)  Semester (First / Second / Summer) : ภาคปลาย

6.       ปีการศึกษา (Academic Year)  : 2550

7.       ชื่อผู้สอน (รายวิชาที่มีผู้สอนหลายคน ระบุชื่ออาจารย์ผู้ร่วมสอนทุกคน) (Instructor / Academic Staff)

อาจารย์

ห้องพัก

โทรศัพท์

Office Hours

 อาจารย์จันทรา  บุญวิชัย

 E-mail: jantra@sru.ac.th

ห้องพักอาจารย์  ชั้น 2

อาคารทีปังกรรัศมีโชติ

081-5356-773

 

077-355466-7  ต่อ 724

 

 

8.       เงื่อนไขรายวิชา (Condition)

8.1        วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน  (Prerequisite) : -

8.2        วิชาบังคับร่วม (Co requisite) : -

9.       สถานภาพของวิชา (วิชาบังคับ/วิชาเลือก)  Status (Required / Elective) : วิชาบังคับ / วิชาเลือก

10.    ชื่อหลักสูตร (Curriculum) : วิทยาศาสตรบัณฑิต / บริหารธุรกิจบัณฑิต

11.    วิชาระดับ (Degree) : ปริญญาตรี

12.    จำนวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์ (Hours / Week) : 3(2-2)

13.    เนื้อหารายวิชา (Course Description)

ศึกษาความสำคัญระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT)  และระบบสารนิเทศเพื่อการสืบค้นและแสวงหาความรู้ในสังคมยุคตัวเลข (Digital society) และยุคแห่งปัญญา (Intellectual society) ที่มีผลต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของมนุษย์ การศึกษารวบรวมข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลและใช้งานฐานข้อมูลสนเทศ (Database management) การสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลสนเทศบนระบบและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer and networking) เช่น LAN , WAN , Internet , Intranet ฯลฯ การใช้ระบบมัลติมีเดีย ระบบ Video On Demand ระบบ Virtual Reality ฯลฯ การสร้างสารนิเทศและสารสนเทศ การควบคุมและจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและสารนิเทศเพื่อการแสวงหาความรู้ การสืบค้นข้อมูลสนเทศเพื่อการพัฒนาวิชาชีพและการเรียนรู้สังคมยุคข่าวสารข้อมูล

 

 

 

 

 

 

14.    ประมวลการเรียนรายวิชา (Course Outline)

14.1     วัตถุประสงค์ทั่วไปและ/หรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Learning Objectives / Behavioral Objectives)

1.       เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ พิจารณาความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อมนุษย์

2.     เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ติดตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตและในวิชาชีพของตนเอง

3.       เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในการเรียนรู้และประกอบวิชาชีพได้

4.       เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสืบค้นในการสื่อสาร สืบค้นข้อมูลและศึกษาความรู้และข่าวสารได้

5.       เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ตัดสินใจ แก้ปัญหา ควบคุมและเลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม

14.2   เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์ (Learning Contents)

ตารางกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน

ครั้งที่

เนื้อหา

กิจกรรมการเรียน

วิธีการสอน

วัน/เดือน/ปี

1

ความรู้เบื้องต้น และวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์  ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

2

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์  ฮาร์ดแวร์  ซอฟต์แวร์  บุคลากร  ข้อมูล  สารสนเทศ

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

3

ความหมายของข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศวิธีการประมวลผลข้อมูล , องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ , ระดับการจัดการในองค์กร , การประยุกต์ใช้ในทางธุรกิจ

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

4

ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์   องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์  ระบบปฏิบัติการ

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

5

ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง  ความหมายของฮาร์ดแวร์  อุปกรณ์ประมวลผล  หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

6

ระบบปฏิบัติการและหลักการทำงานเบื้องต้น  ไบออส  ส่วนประสานงานกับผู้ใช้  การจัดการกับไฟล์

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

7

การจัดการหน่วยความจำ  การจัดการอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผลข้อมูล   การจัดการหน่วยประมวลผลกลาง

การรักษาความปลอดภัย

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

8

สอบกลางภาค

สอบข้อเขียน

-

 

9

ระบบปฏิบัติการ Windows , โปรแกรม Microsoft Word , โปรแกรม Microsoft Excel , โปรแกรม Microsoft PowerPoint

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

10

ข้อมูลและการจัดการข้อมูล   ความหมายของข้อมูล  แหล่งข้อมูล   คุณสมบัติของข้อมูล  การแบ่งลำดับชั้นของการจัดการข้อมูล

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

11

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น  ประวัติของอินเทอร์เน็ต , บริการขั้นพื้นฐานในระบบอินเทอร์เน็ต , เครื่องมือช่วยในการสำรวจอินเทอร์เน็ต , World Wide Web

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

12

จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) Search Engine Intranet

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

13

ฐานข้อมูล , โครงสร้างฐานข้อมูล , การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล , การจัดการฐานข้อมูล การสืบค้นและใช้งานระบบฐานข้อมูล

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

14

แหล่งสารนิเทศ , การสืบค้นและการแสวงหาสารนิเทศ , การสืบค้นฐานข้อมูลหนังสือและวารสารด้วย VTLS และ Search Engine

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

15

นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ทำแบบฝึกหัด

บรรยาย/ปฏิบัติ

 

16

สอบปลายภาค

สอบข้อเขียน

-

 

 

14.3   วิธีจัดการเรียนการสอน (Method)

þ   การบรรยาย (Lecture)   (ชั่วโมง/ครั้ง/คาบ/ร้อยละ) : 2 คาบ / 1 ครั้ง ร้อยละ 50                                                                      

r   การบรรยายเชิงอภิปราย (Lecture and discussion)   (ชั่วโมง/ครั้ง/คาบ/ร้อยละ)  :  -                             

þ   การระดมสมอง และการอภิปรายกรณีศึกษาเพื่อให้รู้จักการวิเคราะห์ และการแก้ปัญหา

(Brainstorming and discussion of case study so that students learn to analyze and solve problems)  (ชั่วโมง/ครั้ง/คาบ/ร้อยละ) : 1 คาบ / 1 ครั้ง ร้อยละ 25                                                       

þ   การสรุปประเด็นสำคัญ หรือการนำเสนอผลของการสืบค้นหรือผลของงานที่ได้รับมอบหมาย  (Making a

        summary of the main points or presentation of the results of researching or the assigned tasks)  

        (ชั่วโมง/ครั้ง/คาบ/ร้อยละ) : 1 คาบ / 1 ครั้ง ร้อยละ 25                                                       

r   อื่นๆ (Others) (ชั่วโมง/ครั้ง/คาบ/ร้อยละ) : -

14.4  สื่อการสอน (Media)

þ แผ่นใสและแผ่นทึบ (Transparencies and opaque sheets)

þ สื่อนำเสนอในรูปแบบ (PowerPoint media)

þ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ / เว็บไซต์ (Electronics and website media)

þ อื่นๆ (Others) : คอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์ครบชุด โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ที่กำหนดให้

14.5   การมอบหมายงาน ผ่านระบบเครือข่าย (Assignment through Network System)

14.5.1   ข้อกำหนดวิธีการมอบหมายงาน และส่งงาน (Assigning and Submitting Method) : ส่งงานตาม E-Mail

              ที่ระบุ

14.5.2       ระบบจัดการการเรียนรู้ที่ใช้ (Learning Management System) : ประกาศข่าวสารทางเว็บไซต์ของ

              โปรแกรมวิชาฯ ที่ระบุ

14.6   การวัดผลการเรียน (Evaluation)

14.6.1   การประเมินความรู้ทางวิชาการ                                         ร้อยละ   60 (สอบกลางภาค  : สอบปลายภาค)

          (Assessment of academic knowledge)                                                                            

14.6.2       การประเมินการทำงานหรือกิจกรรมในชั้นเรียน         ร้อยละ   10 (เวลาเรียนในห้องเรียน)

          (Assessment of work or classroom activities)                                      

14.6.3       การประเมินผลงานที่ได้มอบหมาย                                ร้อยละ   20 (แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมาย)

          (Assessment of the assigned tasks)                                                                        

14.6.4       อื่นๆ (Others)                                                                      ร้อยละ   10 (สอบปฏิบัติ)

15           รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ (Reading List)

15.1    หนังสือบังคับ (Required Text)

วศิน  เพิ่มทรัพย์และวิโรจน์  ชัยมูล. (2548).  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ .  กรุงเทพฯ :  โปรวิชั่น.

15.2    หนังสืออ่านเพิ่มเติม (Supplementary Texts)

คณาจารย์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. (2546).  เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเรียนรู้.  กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏ

       สวนดุสิต

ธงชัย  สิทธิกรณ์. (2547).  ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น.  นนทบุรี :  ไอดีซีฯ .

วาสนา  สุขกระสานติ.(2545).  โลกของคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ  และอินเทอร์เน็ต.  กรุงเทพฯ :  โรงพิมพ์แห่ง

       จุฬาลงกรณ์.

15.3   บทความวิจัย/บทความวิชาการ (ถ้ามี)  Research Articles / Academic Articles (If any) : -

15.4    สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง (Electronic Media or Websites) : เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาโครงสร้างข้อมูล ทุกเว็บไซต์ เช่น http://sot.swu.ac.th/CP341/

16.   การประเมินผลการสอน (Teacher Evaluation) โปรดระบุการดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้

16.1   การประเมินการสอน  ใช้รูปแบบใดของมหาวิทยาลัย หรือรูปแบบอื่น : ใช้แบบอิงค์เกณฑ์ ดังนี้

 

คะแนน

0-49

50-54

55-59

60-64

65-69

70-74

75-79

80-100

เกรด

E

D

D+

C

C+

B

B+

A

 

16.2   การปรับปรุงจากผลการประเมินการสอนครั้งที่ผ่านมา (ระบุว่าได้ดำเนินการในเรื่องใดบ้าง เช่น  ปรับปรุงเนื้อหา สื่อการสอน วิธีการสอน เป็นต้น) (Changes made in accordance with the previous evaluation e.g. adjustments in content, teaching media, teaching method)

- ปรับปรุงเนื้อหา ให้มีตัวอย่างโจทย์และตัวอย่างแบบฝึกปฏิบัติมากขึ้น

- ปรับปรุงสื่อการสอน เพิ่มสื่ออิเล็กทรอนิกส์และเว็บไซต์

- ปรับปรุงวิธีการสอน ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการคิดเพิ่มมากขึ้น

16.3   การอภิปรายหรือการวิเคราะห์ที่เสริมสร้างคุณลักษณะของบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (จตุลักษณ์)

- นักศึกษามีความรู้และประสบการณ์ตามมาตรฐานของหลักสูตรทางคอมพิวเตอร์

- นักศึกษามีระบบคิดที่ดี รู้จักคิด กล้าคิด คิดสร้างสรรค์

- นักศึกษามีจิตวิญญาณในการทำงาน มุ่งมั่น หนักเอา เบาสู้ ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรค

- นักศึกษามีจริยธรรมในวิชาชีพทางคอมพิวเตอร์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

***หมายเหตุ ***

 

รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

เน้นตัวผู้เรียน

1. การจัดการเรียนการสอนตามเอกัตภาพ (Individual Instruction)

2. การจัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนนำตนเอง (Self Directed Learning)

เน้นความรู้ความสามารถ

3. การจัดการเรียนรู้แบบรู้จริง (Mastery Learning)

4. การจัดการเรียนการสอนแบบประกันผล (Verification Teaching)

5. การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นมโนทัศน์ (Concept-based Instruction)

เน้นประสบการณ์

6. การจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential-Teaching)

7. การจัดการเรียนรู้แบบรับใช้สังคม (Service Learning)

8. การจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Learning)

เน้นปัญหา

9. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-based Instruction)

10. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงการ (Project-based Instruction)

เน้นทักษะกระบวนการ

11. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการสืบสอบ (Inquiry-based Instruction)

12. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการคิด (Thinking-based Instruction)

13. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการกลุ่ม (Group Process-based Instruction)

14. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการวิจัย (Research-based Instruction)

15. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Instruction Emphasizing  Learning Process)

เน้นบูรณาการ

16. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการบูรณาการภายในวิชา (Interdisciplinary)

17. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการบูรณาการระหว่างวิชา (Interdisciplinary)

 

คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์คือ จตุลักษณ์ มีดังนี้

1.       มีความรู้และประสบการณ์ตามมาตรฐานของหลักสูตร

2.       มีระบบคิดที่ดี รู้จักคิด กล้าคิด คิดสร้างสรรค์

3.       มีจิตวิญญาณในการทำงาน มุ่งมั่น หนักเอา เบาสู้ ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรค

4.       มีจริยธรรมในวิชาชีพ